วันศุกร์ที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

การแพร่ (diffusion) ของโมเลกุลของสารเป็นการเคลื่อนที่ของโมเลกุลจากจุดที่มีความเข้มข้นสูงกว่า ไปยังจุดที่มีความเข้มข้นต่ำกว่า การเคลื่อนที่นี้เป็นไปในลักษณะทุกทิศทุกทาง โดยไม่มีทิศทางที่แน่นอนผลจากการเคลื่อนที่อันนี้จะทำให้ความเข้มข้นของ โมเลกุลของสารในภาชนะที่มีเนื้อที่จำกัดนั้น มีความเข้มข้นเท่ากันหมดตัวอย่างของการแพร่ที่พบได้เสมอ คือ
ก.การแพร่ ของเกลือในน้ำ
ข.การแพร่อขงน้ำหอมในอากาศ
นอกจาก 2 ตัวอย่างทียกมาให้ดูแล้วยังมีตัวอย่างอีกมากมายที่เราพบได้ในชีวิตประจำวัน เช่น การฉีดดีดีทีฆ่าแมลง การเติมน้ำตาลลงในถ้วยกาแฟ การหยดหรือแต่น้ำหอมตามเสื้อผ้า กลิ่นลูกเหม็นกันแมลง ควันจากท่อไอเสียรถยนต์ เป็นต้น
ในปีค.ศ. 1828 (พ.ศ. 2371) รอเบิร์ต บราวน์ ได้สังเกตปรากฏการณ์อย่างหนึ่ง โดยพบว่า เมื่อเกสรดอกไม้ตกลงในน้ำ เกสรนั้นจะมีการเคลื่อนที่อย่างไม่มีทิศทางแน่นอนต่อมาจึงเรียกการเคลื่อน ที่อย่างไม่มีทิศทางแน่นอนหรือ ไร้ทิศทางนี้ ว่า การเคลื่อนที่แบบบราวเนียน (Brownian movement) และแอลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein) ได้ให้เหตุผลว่า การเคลื่อนที่ของเกสรดอกไม้ที่เรียกว่า การเคลื่อนที่แบบบราวเนียนนั้นเกิดจากโมเลกุลของน้ำเคลื่อนที่เข้าชน เกสรดอกไม้อยู่ตลอดเวลา ทำให้เกสรดอกไม้เคลื่อนที่ได้
การแพร่เกิดจาก พลังงานจลน์ (kinetic energy) ของโมเลกุลหรือไอออนของสาร ทำให้เกิดการเคลื่อนที่และกระทบกระทั่งหรือชนกันโดยบังเอิญเป็นผลให้เกิดการ กระจายในทุกทิศทุกทาง บริเวณที่มีความเข้มข้นของโมเลกุลหรือไอออนน้อยกว่า จนทำให้ทุกบริเวณมีความเข้มข้นของโมเลกุลหรือไอออนเท่ากัน จึงเรียกว่า ภาวะสมดุลของการแพร่ (diffusion equilibrium) ในภาวะเช่นนี้สารต่าง ๆ ก็ยังมีการเคลื่อนที่อยู่แต่อยู่ในลักษณะที่ไปและมาหรือออกเข้าในจำนวนที่ เท่า ๆ กัน

ปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่
ความเร็วของการแพร่จะมาก หรือน้อย เร็วหรือช้าขึ้นอยู่กับ
1.อุณหภูมิ ในขณะที่อุณหภูมิสูง โมเลกุลของสารมีพลังงานจลน์มากขึ้น ทำให้โมเลกุลเหล่านี้เคลื่อนที่ได้เร็วกว่า เมื่ออุณหภูมิต่ำ การแพร่จึงเกิดขึ้นได้เร็ว
2.ความแตกต่างของความเข้มข้น ถ้าหากมีความเข้มข้นของสาร 2 บริเวณ แตกต่าง แตกต่างกันมากจะทำให้การแพร่เกิดขึ้นได้เร็วขึ้นด้วย เนื่องจากบริเวณที่มีความเข้มข้นมากโมเลกุลมีโอกาสชนและกระแทกกันมากทำให้ โมเลกุลกระจายออกไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นน้อยกว่าได้เร็วกว่า เมื่อความเข้มข้นใกล้เคียงกัน
3.ขนาดของโมเลกุลสาร สารที่มีขนาดโมเลกุลเล็กจะเกิดการแพร่ได้เร็วกว่าสารโมเลกุลใหญ่ เนื่องจากสารโมเลกุลเล็กสามารถแทรกไประหว่างโมเลกุลของสารตัวกลางได้ดีกว่า สารโมเลกุลใหญ่ สารโมเลกุลเล็กจึงแพร่ได้ดี
4.ความเข้มข้นและชนิดของสาร ตัวกลาง สารตัวกลางที่มีความเข้มข้นมากจะมีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของตัวกลางของตัว กลาง ทำให้โมเลกุลของสารเคลื่อนที่ไปได้ยาก แต่ถ้าหากสารตัวกลางมีความเข้มข้นน้อยโมเลกุลของสารก็จะเคลื่อนที่ได้ดีทำ ให้การแพร่เกิดขึ้นเร็วด้วย

สารต่าง ๆ สามารถผ่านเข้าออกเยื่อเซลล์ได้ในอัตราเร็วที่แตกต่างกัน น้ำเป็นสารที่ผ่านเยื่อเซลล์ได้ดีที่สุดรองลงมาเป็น ก๊าซที่ละลายน้ำ สารอินทรีย์ สารประจุลบ และสารประจุบวก ซึ่งมีอัตราเร็วในการผ่านเยื่อเซลล์ได้น้อยที่สุด กลไกในการผ่านของสารต่อเยื่อเซลล์นั้นแบ่งออกได้เป็น 3 แบบ คือ
1.การ แพร่ผ่านเยื่อเซลล์ โดยการละลายตัวกับเยื่อเซลล์ เนื่องจากเยื่อเซลล์ประกอบด้วยไขมันเป็นส่วนใหญ่ ดังนั้นสารที่ละลายในไขมันจึงแพร่ผ่านเยื่อเซลล์ได้ดีกว่าสารที่ละลายใน ไขมันไม่ได้
2.การแพร่ผ่านรูของเยื่อเซลล์ เนื่องจากบริเวณรูของเยื่อเซลล์มีสารพวกโปรตีนบุอยู่ ดังนั้นพวกสารโมเลกุลเล็ก ๆ เช่นน้ำ และสารที่ละลายไม่ได้ในไขมันจะผ่านเข้าออกทางนี้ โปรตีนเป็นสารมีประจุบวก ดังนั้นสารที่มีประจุลบจึงสามารถผ่านเข้าออกทางรูนี้ได้ดีกว่าสารประจุบวก
3.การ แพร่ผ่านเยื่อเซลล์โดยการรวมตัวกับตัวพา โดยเชื่อว่าที่เยื่อเซลล์มีสารบางชนิดทำหน้าที่เป็นตัวพา (carrier) ซึ่งจะรวมตัวกับสารและทำให้เกิดการนำสารนั้นเข้าสู่เซลล์ได้เร็วกว่าปกติ การนำกรดอะมิโนและกลูโคสเข้าเซลล์ ซึ่งเกิดขึ้นเร็วกว่าการแพร่แบบธรรมดามาก จึงเรียกการแพร่ของกลูโคสและกรดอะมิโนว่าการแพร่โดยมีตัวช่วย หรือการแพร่แบบฟาซิลิเทต (facilitated diffusion)

ออสโมซิส
เป็น การแพร่ของเหลวผ่านเยื่อบาง ๆ ซึ่งตามปกติจะหมายถึง การแพร่ของน้ำผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ (cell membrane) เนื่องจากเยื่อหุ้มเซลล์มีคุณสมบัติในการยอมให้สารบางชนิดเท่านั้นผ่านได้ การแพร่ของน้ำจะแพร่จากบริเวณที่เจือจางกว่า (มีน้ำมาก) ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์เข้าสู่บริเวณที่มีความเข้มข้นกว่า (มีน้ำน้อย) ตามปกติการแพร่ของน้ำนี้จะเกิดทั้งสองทิศทาง คือ ทั้งบริเวณเจือจาง และบริเวณเข้มข้น แต่เนื่องจากน้ำบริเวณเจือจางแพร่เข้าสู่บริเวณเข้มข้นมากกว่า จึงมักกล่าวกันสั้น ๆว่า ออสโมซิสเป็นการแพร่ของน้ำจากบริเวณที่มีน้ำมาเข้าไปสู่ในบริเวณที่มีน้ำ น้อยกว่าโดยผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
แรงดันออสโมติกเกิดจากการแพร่ของน้ำ จากบริเวณที่มีน้ำมาก (เจือจาง) เข้าสู่บริเวณที่มีน้ำน้อย (เข้มข้น) แรงดันของน้ำนี้จะดันให้ของเหลวขึ้นไปในหลอดได้ ในขณะที่ยังไม่สมดุลของเหลวก็จะขึ้นไปบนหลอดได้เรื่อย ๆ และเมื่อเกิดการสมดุลระดับของของเหลวในหลอดจะคงที่ แรงดันออสโมติกของสารละลายแต่ละชนิดจะแตกต่างกัน น้ำบริสุทธิ์เป็นของเหลวที่มีแรงดันออสโมติกต่ำสุด สารละลายที่เจือจางจะมีแรงดันออสโมติกต่ำส่วนสาระละลายที่เข้มข้นมาจะมีแรง ดันออสโมติกสูงมากด้วย
ในกรณีของเซลล์ ถ้าใส่เซลล์ลงในสารละลายที่มีความเข้มข้นต่างกันจะมีผลต่อเซลล์แตกต่างกัน ด้วยจึงทำให้แบ่งสารละลายที่อยู่นอกเซลล์ออกได้เป็น 3 ชนิด ตามการเปลี่ยนขนาดของเซลล์ เมื่ออยู่ภายในสารละลายนั้น คือ
1.ไฮโพทอนิก โซลูชัน (hypotonic solution) หมายถึง สารละลายนอกเซลล์ที่มีความเข้มข้นน้อยกว่าเซลล์ ดังนั้นเมื่อใส่เซลล์ในสารละลายชนิดนี้จะทำให้เซลล์ขยายขนาดเพิ่มขึ้น เนื่องจากน้ำภายในสารละลายแพร่เข้าสู่เซลล์มากกว่าน้ำภายในเซลล์แพร่ออกนอก เซลล์ในกรณีของเซลล์เม็ดเลือดแดงสารละลายที่เป็นไฮโพทอนิกจะมีความเข้มข้น ต่ำกว่าน้ำเกลือ 0.85 % ซึ่งอาจทำให้เซลล์เม็ดเลือดแดงแตกได้
2.ไอโซทอนิ ก โซลูชัน (isotonic solution) หมายถึง สารละลายนอกเซลล์ที่มีความเข้มข้นเท่ากับเซลล์ ดังนั้นเมื่อใส่เซลล์ในสารละลายชนิดนี้ขนาดของเซลล์จะไม่มีการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากน้ำภายในสารละลายและน้ำจากเซลล์แพร่เข้าออกในอัตราที่เท่าเทียมกัน สารละลายที่เป็นไอโซทอนิกกับเซลล์เม็ดเลือดแดง คือ น้ำเกลือ 0.85 %
3.ไฮ เพอร์ทอนิก โซลูชัน (hypertonic solution) หมายถึง สารละลายนอกเซลล์ที่มีความเข้มข้นมากกว่าเซลล์ ดังนั้นเมื่อใส่เซลล์ในสารละลายชนิดนี้จะทำให้เซลล์เหี่ยวลดขนาดลง เรียกว่า เกิดพลาสโมไลซิส (plasmolysis) เนื่องจากน้ำภายในเซลล์แพร่ออกนอกเซลล์มากขึ้น จนถึงจุดอิ่มตัวแล้วจะไม่เพิ่มขึ้น ถึงแม้ว่าจะเพิ่มความแตกต่างของความเข้มข้นให้มากขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากโปรตีนที่เป็นตัวพามีอยู่จำกัดและได้ทำนห้าที่ขนส่งสารจน หมดทุกตัวแล้ว การแพร่แบบฟาซิลิเทต นอกจากลำเลียงกลูโคสแล้วยังลำเลียงกรดอะมิโนและคาร์บอนไดออกไซด์ที่อยู่ใน รูปของไฮโดรเจน คาร์บอเนตไอออน (HCO- ) ได้ด้วย

isotonic solution hypertonic solution hypotonic solution
เซลล์พืชมีผนังเซลล์ ดังนั้น เมื่อเซลล์พืชอยู่ในสารละลายไฮโพทอนิก เซลล์พืชจะไม่แตก แต่เซลล์พืชจะเต่งขึ้น เพราะว่าผนังเซลล์พืชมีแรงดันด้านเอาไว้ ซึ่งเรียกว่า wall pressure แต่เมื่อเซลล์พืชอยู่ในสารละลายไฮเพอร์ทอนิก เซลล์พืชจะเสียน้ำให้สารละลายไฮเพอร์ทอนิก ถ้าเสียน้ำออกมาเรื่อย ๆ จะทำให้โพรโทพลาซึมหดตัวลงมาก ทำให้เยื่อหุ้มเซลล์แยกออกจากผนังเซลล์ และหดตัวลง ถ้าหากเสียน้ำมาก ๆ จะทำให้เห็นเยื่อเซลล์และโพรโทพลาซึมเป็นก้อนกลม ๆ อยู่กลางเซลล์
ออสโมซิส ที่เกิดจากสารละลายไฮโพทอนิกนอกเซลล์ ทำให้น้ำผ่านเข้าไปในเซลล์และเซลล์เต่งขึ้น หรือเซลล์แตก เรียกว่า เอนโดสโมซิส (endosmosis) หรือพลาสมอพทิซิส (plasmoptysis) สำหรับออสโมซิสที่เกิดจากสารละลายไฮเพอร์ทอนิก นอกเซลล์แล้ว ให้น้ำผ่านออกนอกเซลล์ ทำให้เซลล์เหี่ยว เรียกว่า เอโซสโมซิส (exosmosis) หรือพลาสโมไลซิส
ที่มาhttp://www.thaiblogonline.com /krusaneh.blog?PostID=3246
1.สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า แต่เดิมใช้แว่นขยายหรือเลนส์อันเดียวส่องดู คงเช่นเดียวกับการใช้เเว่นขยายส่องดูลายมือ ในระยะต่อมา ได้สร้างแว่นขยาย ส่องดูสิ่งมีชีวิต ขนาดเล็กๆ ในราวปี พ.ศ.2153 นักวิทยาศาสตร์ผู้นี้คือข้อใด
ก. Galilei Galileo
ข. Zaccharias Janssen
ค. Robert Hooke
ง. Antony Van Leeuwenhoek
2.พ.ศ.2208 นักวิทยาศาสตร์ผู้นี้คือข้อใด ได้ประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์ ชนิดเลนส์ประกอบ ที่มีลำกล้อง รูปร่างสวยงาม ป้องกันแสงภายนอกรบกวนได้ และไม่ต้องถือเลนส์ ให้ซ้อนกัน เขาตรวจดูสิ่งต่างๆ เช่น ไม้คอร์กที่ฝานบางๆ ด้วยมีดโกน
ก. Galilei Galileo
ข. Robert Hooke
ค. Zaccharias Janssen
ง. Antony Van Leeuwenhoek
3. ตรวจดูสิ่งต่างๆ เช่น ไม้คอร์กที่ฝานบางๆ ด้วยมีดโกน พบว่า ไม้คอร์กประกอบด้วย ช่องเล็กๆ มากมาย เขาเรียกช่องเล็กๆ เหล่านั้นว่า "cell" นักวิทยาศาสตร์ผู้นี้คือข้อใด
ก. Galilei Galileo
ข. Zaccharias Janssen
ค. Antony Van Leeuwenhoek
ง. Robert Hooke
4.พ.ศ.2215 ชาวฮอลันดา ได้สร้างกล้องจุลทรรศน์ ชนิดเลนส์เดี่ยว จากแว่นขยายที่เขาฝนเอง ซึ่งสามารถขยายได้ถึง 270 เท่า เขาใช้กล้องจุลทรรศน์ ตรวจดูหยดน้ำ จากบึง และแม่น้ำ และจากน้ำฝน ที่รองเก็บไว้ในหม้อ เห็นสิ่งมีชีวิต ชนิดเล็กๆ มากมาย ทำให้ได้ชื่อว่าเป็นคนพบ จุลินทรีย์เป็นคนแรกนักวิทยาศาสตร์ผู้นี้คือข้ก. Robert Hooke
ข. Zaccharias Janssen
ค. Antony Van Leeuwenhoek
ง. Galilei Galileo
5.พ.ศ.2376 นักพฤกษศาสตร์ชาวอังกฤษ เป็นคนแรกที่ค้นพบว่า ในเซลล์พืช มีนิวเคลียส (nucleus) เป็นก้อนกลมๆ อยู่ภายในเซลล์
ก. Robert Brown
ข. Zaccharias Janssen
ค. Antony Van Leeuwenhoek
ง. Galilei Galileo


ที่ มา http://teqsmart.org/shop/index.php?main_page=product_info&cPath=3&products_id=33


ที่ มาhttp://teqsmart.org/shop/index.php?main_page=product_info&cPath=3&products_id=34

การ สังเคราะห์ด้วยแสง



การ สังเคราะห์ด้วยแสง (อังกฤษ: photosynthesis) เป็นกระบวนการทางชีวเคมีที่สำคัญอย่างหนึ่ง ซึ่งทำให้พืช,สาหร่าย และแบคทีเรียบางชนิดได้รับพลังงานจากแสงอาทิตย์มาปรุงอาหารได้ จะว่าไปแล้ว สิ่งมีชีวิตแทบทั้งหมดล้วนอาศัยพลังงานที่ ได้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงเพื่อความเติบโตของตน ทั้งทางตรงและทางอ้อม นับเป็นความสำคัญยิ่งยวดสำหรับสิ่งมีชีวิตในโลก นอกจากนี้ยังก่อให้เกิดการผลิตออกซิเจน ซึ่งมีเป็นองค์ประกอบในสัดส่วนที่มากของบรรยากาศโลกด้วย สิ่งมีชีวิตที่สร้างพลังงานจากกระบวนการสังเคราะห์แสงได้ เรียกว่า "phototrophs"
ความเข้มของแสง

ถ้ามีความเข้มของแสงมาก อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ดังกราฟ อุณหภูมิกับความเข้มของแสง มีผลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงร่วมกัน คือ ถ้าอุณหภูมิสูงขึ้นเพียงอย่างเดียว แต่ความเข้มของแสงน้อยจะไม่ทำให้อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงเพิ่มขึ้น อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนถึงขีดหนึ่งแล้วอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงจะลดต่ำลงตามอุณหภูมิและความ เข้มของแสงที่เพิ่มขึ้นและยังขึ้นอยู่กับชนิดของพืชอีกด้วยเช่น พืช c3และ พืช c4

โดยปกติ ถ้าไม่คิดถึงปัจจัยอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชส่วนใหญ่จะเพิ่มมากขึ้น เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นในช่วง 0-35 °C หรือ 0-40 °C ถ้าอุณหภูมิสูงกว่านี้ อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงจะลดลง ทั้งนี้เนื่องจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงเป็นปฏิกิริยาที่มีเอนไซม์ควบ คุม และการทำงานของเอนไซม์ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ ดังนั้น เรื่องของอุณหภูมิจึงมีความสัมพันธ์กับอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง เรียกปฏิกิริยาเคมีที่มีความสัมพันธ์กับอุณหภูมิว่า ปฏิกิริยาเทอร์โมเคมิคัล

ถ้าความเข้มของแสงวีดีน้อยมาก จนทำให้การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชเกิดขึ้นน้อยกว่ากระบวนการหายใจ น้ำตาลถูกใช้หมดไป พืชจะไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้ อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชไม่ได้ ขึ้นอยู่กับความเข้มของแสงเท่านั้น แต่ยังขึ้นอยู่กับความยาวคลื่น (คุณภาพ) ของแสง และช่วงเวลาที่ได้รับ เช่น ถ้าพืชได้รับแสงนานจะมีกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงดีขึ้น แต่ถ้าพืชได้แสงที่มีความเข้มมากๆ ในเวลานานเกินไป จะทำให้กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงชะงัก หรือหยุดลงได้ทั้งนี้เพราะคลอโรฟิลล์ถูกกระตุ้นมากเกินไป ออกซิเจนที่เกิดขึ้นแทนที่จะออกสู่บรรยากาศภายนอก พืชกลับนำไปออกซิไดส์ส่วนประกอบและสารอาหารต่างๆภายในเซลล์ รวมทั้งคลอฟิลล์ทำให้สีของคลอโรฟิลล์จางลง ประสิทธิภาพของคลอโรฟิลล์และเอนไซม์เสื่อมลง ทำให้การสร้างน้ำตาลลดลง
ความ เข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์

ถ้าความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เพิ่มขึ้นจากระดับปกติที่มีในอากาศ อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงจะเพิ่มสูงขึ้นตามไปด้วย จนถึงระดับหนึ่งถึงแม้ว่าความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์จะสูงขึ้น แต่อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงไม่ได้สูงขึ้นตามไปด้วย และถ้าหากว่าพืชได้รับคาร์บอนไดออกไซด์ ที่มีความเข้มข้นสูงกว่าระดับน้ำแล้วเป็นเวลานานๆ จะมีผลทำให้อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงลดต่ำลงได้ ดังกราฟ

คาร์บอน ไดออกไซด์จะมีผลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงมากน้อยแค่ไหนขึ้น อยู่กับปัจจัยอื่นด้วย เช่น ความเข้มข้นสูงขึ้น แต่ความเข้มของแสงน้อย และอุณหภูมิของอากาศก็ต่ำ กรณีเช่นนี้ อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงจะลดต่ำลงตามไปด้วย ในทางตรงกันข้าม ถ้าคาร์บอนไดออกไซด์มีความเข้มข้นสูงขึ้น ความเข้มของแสงและอุณหภูมิของอากาศก็เพิ่มขึ้น กรณีเช่นนี้อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงก็จะสูงขึ้นตามไปด้วย

นัก ชีววิทยาจึงมักเลี้ยงพืชบางชนิดไว้ในเรือนกระจกที่แสงผ่านเข้าได้มากๆ แล้วให้ คาร์บอนไดออกไซด์มากขึ้นเป็นพิเศษ ซึ่งมีผลทำให้พืชมีกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงเพิ่มมากขึ้น อาหารเกิดมากขึ้น จึงเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ออกดอกออกผลเร็ว และออกดอกออกผลนอกฤดูกาลก็ได้
[แก้] อุณหภูมิ

อุณหภูมิ เป็นปัจจัยอย่างหนึ่งที่มีอิทธิพลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช โดยทั่วไปอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น 10-35 °C ถ้าอุณหภูมิสูงขึ้นกว่านี้อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงวีดีจะลดต่ำลงตาม อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงที่อุณหภูมิสูงๆ ยังขึ้นอยู่กับเวลาอีกปัจจัยหนึ่งด้วย กล่าวคือ ถ้าอุณหภูมิสูงคงที่ เช่น ที่ 40 °C อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงจะลดลงตามระยะเวลาที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้เพราะเอนไซม์ทำงานได้ดีในช่วงอุณหภูมิที่พอเหมาะ ถ้าสูงเกิน 40 °C เอนไซม์จะเสื่อมสภาพทำให้การทำงานของเอนไซม์ชะงักลง ดังนั้นอุณหภูมิจึงมีความสัมพันธ์ต่อการสังเคราะห์แสงด้วย เรียกปฏิกิริยาเคมีที่มีความสัมพันธ์กับอุณหภูมิว่า ปฏิกิริยาเทอร์มอเคมิคอล (Thermochemical reaction)
[แก้] ออกซิเจน

ตาม ปกติในอากาศจะมีปริมาณของออกซิเจน (O2) ประมาณ 25% ซึ่งมักคงที่อยู่แล้ว จึงไม่ค่อยมีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง แต่ถ้าปริมาณออกซิเจนลดลงจะมีผลทำให้อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงสูงขึ้น แต่ถ้ามีมากเกินไปจะทำให้เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน ของสารต่างๆ ภายในเซลล์ โดยเป็นผลจากพลังงานแสง (Photorespiration) รุนแรงขึ้น การสังเคราะห์ด้วยแสงจึงลดลง
[แก้] น้ำ

น้ำ ถือเป็นวัตถุดิบที่จำเป็นต่อกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (แต่ต้องการประมาณ 1% เท่านั้น จึงไม่สำคัญมากนักเพราะพืชมีน้ำอยู่ภายในเซลล์อย่างเพียงพอ) อิทธิพลของน้ำมีผลต่อกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงทางอ้อม คือ ช่วยกระตุ้นการทำงานของเอนไซม์
[แก้] เกลือแร่

ธาตุแมกนีเซียม (Mg) , และไนโตรเจน (N) ของเกลือใน ดิน มีความสำคัญต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง เพราะธาตุดังกล่าวเป็นองค์ประกอบอยู่ในโมเลกุลของคลอโรฟิลล์ ดังนั้น ถ้าในดินขาดธาตุทั้งสอง พืชก็จะขาดคลอโรฟิลล์ ทำให้การสังเคราะห์ด้วยแสงลดลงด้วย นอกจากนี้ยังพบว่าเหล็ก (Fe) จำเป็นต่อการสร้างคลอโรฟิลล์ และโปรตีนไซโตโครม (ตัวรับและถ่ายทอดอิเล็กตรอน) ถ้าไม่มีธาตุเหล็กในดินเพียงพอ การสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ก็จะเกิดขึ้นไม่ได้และ ฟอสฟอรัสอีกด้วย
[แก้] อายุของใบ

ใบจะต้องไม่แก่หรืออ่อนจนเกินไป ทั้งนี้เพราะในใบอ่อนคลอโรฟิลล์ยังเจริญไม่เต็มที่ ส่วนใบที่แก่มากๆ คลอโรฟิลล์จะสลายตัวไปเป็นจำนวนมาก
[แก้] สมการเคมีในการสังเคราะห์ด้วยแสง

สรุปสมการเคมีในการสังเคราะห์ด้วย แสงของพืชสีเขียวเป็นดังนี้ :

nCO2 + 2nH2O + พลังงานแสง → (CH2O)n + nO2 + nH2O

น้ำตาลเฮกโซส และ แป้ง เป็นผลผลิตขั้นต้นดังสมการดังต่อไปนี้:

6CO2 + 12H2O + พลังงานแสง → C6H12O6 + 6O2 + 6H2O

การสังเคราะห์ด้วยแสงแบ่งเป็น 2 ปฏิกิริยาคือ

* ปฏิกิริยาที่ต้องใช้แสง คือปฏิกิริยาโฟโตฟอสโฟรีเลชั่น
* ปฏิกิริยาการตรึงคาร์บอน เป็นขั้นตอนที่มีการสังเคราะห์น้ำตาลกลูโคส โดยใช้คาร์บอนจากคาร์บอนไดออกไซด์ และใช้พลังงานจาก ATP และ NADPH + H+ ในสภาวะที่ไม่มีแสงเมื่อปฏิกิริยาฟอสโฟรีเลชั่นหยุด ปฏิกิริยาการตรึงคาร์บอนจะหยุดไปด้วย
ที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B9%8C%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B9%81%E0%B8%AA%E0%B8%87

การ เปรียบเทียบโครงสร้างของ เซลล์พืช และ เซลล์สัตว์



ที่ มาhttp://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%A5%E0%B8%A5%E0%B9%8C_(%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A7%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2)
การเปรียบเทียบโครงสร้างของ เซลล์พืช และ เซลล์สัตว์ เซลล์สัตว์ เซลล์พืช
ออร์แก เนลล์ (Organelles) นิวเคลียส (Nucleus)
นิวคลีโอลัส (Nucleolus in nucleus)
เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม (Endoplasmic reticulum)
เอนโดพลา สมิกเรติคูลัมแบบผิวขรุขระ (Rough endoplasmic reticulum)
เอนโดพลาสมิ กเรติคูลัมแบบผิวเรียบ (Smooth endoplasmic reticulum)
ไรโบโซม (Ribosome)
ไซโทสเกเลตอน (Cytoskeleton)
กอลจิแอปพาราตัส (Golgi apparatus)
ไซโทพลาซึม (Cytoplasm)
ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria)
เวสิ เคิล (Vesicle)
แวคิวโอล (Vacuole)
ไลโซโซม (Lysosome)
เซนทริโอล (Centriole)
นิวเคลียส (Nucleus)
นิวคลีโอลัสในนิวเคลียส (Nucleolus in nucleus)
เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม (Endoplasmic reticulum)
เอน โดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวขรุขระ (Rough endoplasmic reticulum)
เอนโดพลา สมิกเรติคูลัมแบบผิวเรียบ (Smooth endoplasmic reticulum)
ไรโบโซม (Ribosomes)
ไซโทสเกเลตอน (Cytoskeleton)
กอลจิแอปพาราตัส หรือ ดิกไทโอโซม (dictiosomes)
ไซโทพลาซึม (Cytoplasm)
ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria)
เวสิเคิล (Vesicle)
คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) และ พลาสติด (plastid)
แวคิวโอล (Central vacuole)
โทโนพลาสต์ (Tonoplast-central vacuole membrane)
เปอรอกซิโซม (Peroxisome)
ไกล ออกซิโซม (Glyoxysome)

ซิเลีย (Cilium)
แฟลเจลลัม (Flagellum)
พลาสมา เมมเบรน (Plasma membrane)
พลาสมา เมมเบรน (Plasma membrane)
ผนัง เซลล์ (Cell wall)
พลาสโมเดสมาตา (Plasmodesmata)
แฟลเจลลัมในเซลล์ สืบพันธุ์ (Flagellum in gametes)
การใช้กล้องจุลทรรศน์การใช้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง ( Light microscope)
1.วางกล้อง ให้ฐานอยู่บนพื้นรองรับที่เรียบสม่ำเสมอเพื่อให้ลำกล้องตั้งตรง
2.หมุน เลนส์ใกล้วัตถุ ( objective lens )อันที่มีกำลังขยายต่ำสุดมาอยู่ตรงกับลำกล้อง
3.ปรับกระจกเงาใต้แท่นวาง วัตถุให้แสงเข้าลำกล้องเต็มที่
4. นำสไลด์ที่จะศึกษาวางบนแท่นของวัตถุ ให้วัตถุอยู่กึ่งกลางบริเวณที่แสงผ่านแล้วค่อยๆ หมุนปุ่มปรับภาพหยาบ(coarse adjustment knob)ให้ลำกล้องเลื่อนลงมาอยู่ใกล้วัตถุมากที่สุด โดยระวังงอย่าให้เลนส์ใกล้วัตถถุสัมผัสกับกระจกปิดสไลด์
5.มองผ่านเลนส์ ใกล้ตา (eyepiece)ลงตามลำกล้อง พร้อมกับหมุนปุ่มปรับภาพหยาบขึ้นช้าๆ จนมองเห็นวัตถุที่จะศึกษา แล้วจึงเปลี่ยนมาหมุนปรับปุ่มภาพละเอียด(fine adjustment knob)เพื่อปรับภาพให้ชัด อาเลื่อนสไลด์ไป มาช้าๆ เพื่อให้สิ่งที่ต้องการศึกษามาอยู่กลางแนวลำกล้อง ขณะปรับภาพ ถ้าเป็นกล้องสมัยก่อนลำกล้องจะเคลื่อนที่ขึ้นและลงเข้าหาวัตถุ แต่ถ้าเป็นกล้องสมัยใหม่แท่นวางวัตถุจะทำหน้าที่เลื่อนขึ้นลงเข้าหาเลนส์ วัตถุ
6.ถ้าต้องการขยายภาพให้ใหญ่ขึ้น ให้หมุนเลนส์ใกล้วัตถุอันที่มีกำลังขยายสูงขึ้นเขข้ามาในแนวลำกล้อง และไม่ควรขยับสไลด์อีก แล้วหมุนปรับภาพละเอียดเพื่อให้เห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น
7.การปรับแสงที่ เข้าในลำกล้องให้มากหรือน้อย ให้หมุนแผ่นไดอะแฟรม (diaphram) ปรับแสงตามต้องการกล้องจุลทรรศน ์ ที่ใช้กันในโรงเรียนจะมีจำนวนเลนส์ใกล้วัตถุต่างๆ กันไปเช่น 1 อัน 2 อัน หรือ 3 อัน และมีกำลังขยายต่างๆกันไป อาจเป็น กำลังขยายต่ำสุด x4 กำลังขยายขนาดกลาง x10 กำลังขยายขนาดสู’งx40, x80 หรือที่กำลังขยายสูงมากๆ ถึงx100 ส่วนกำลังขยาย ของเลนส์นั้นโดยทั่วไปจะเป็นx10 แต่ก็มีบางกล้องที่เป็นx5 หรือx15 กำลังขยายของกล้องจุลทรรศน์คำนวณได้จาก ผลคูณของกำลังขยายขอองเลนส์ใกล้วัตถุกับกำลังขยายของเลนส์ใกล้ตา ซึ่งมีกำกับไว้ที่เลนส์
การระวังรักษากล้องจุลทรรศน์
เนื่องจากกล้อ องจุลทรรศน์เป็นอุปกรณืที่มีราคาสูงและมีส่ววนประกอบที่อาจเสียหายง่าย โดยเฉพาะเลนส์ จึงต้องใช้และเก็บรักษาด้วยความระมัดระวังให้ถูกวิธี ซึ่งมีวิธีปฏิบัติดังนี้
1.การยกกล้อง ควรใช้มือหนึ่งจับที่แขนกล้อง (arm) และอีกมือหนึ่งวางที่ฐาน(base) และต้องให้ลำกล้องตั้งตรงเสมอ เพื่อป้องกันการเลื่อนหลุดของเลนส์ใกล้ตา ซึ่งสามารถถอดออกได้ง่าย
2.สไลด์ และกระจกปิดสไลด์ต้องไม่เปียก เพราะอาจทำให้แท่นวางเกิดสนิม และทำให้เลนส์ใกล้วัตถุชื้นอาจเกิดราที่เลนส์ได้
3. ขณะที่ตามองผ่านเลนส์ใกล้ตา เมื่อจะต้องหมุนปุ่มปรับภาพหยาบ ต้องหมุนขึ้นเท่านั้น ห้ามหมุนลง เพราะเลนส์ใกล้ตาอาจกระทบกระจกสไลด์ทำให้เลนส์แตกได้
4.การหาภาพต้อง เริ่มต้นด้วยเลนส์วัตถุกำลังขยายต่ำสุดก่อนเสมอ เพราะปรับหาภาพสะดวกที่สุด
5.เมื่อ ใช้เลนส์ใกล้วัตถุที่มีกำลังขยายสูง ถ้าจะปรับภาพให้ชัดให้หมุนเฉพาะปุ่มปรับภาพละเอียดเท่านั้น
6.ห้ามใช้มือ แตะเลนส์ ในการทำความสะอาดให้ใช้กระดาษสำหรับเช็ดเลนส์เท่านั้น
7.เมื่อ ใช้เสร็จแล้วต้องเอาวัตถุที่ศึกษาออก เช็ดแท่นวางวัตถุและเช็ดเลนส์ให้สะอาด

โครง สร้างเซลล์:นิวเคลียส:ไซโทพลาซึม:ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์




เซลล์ โดยทั่วไปถึงแม้จะมีขนาด รูปร่าง และหน้าที่แตกต่างกัน แต่ลักษณะพื้นฐานภายในเซลล์มักไม่แตกต่างกัน นักชีววิทยาได้ใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนศึกษาเซลล์ของสิ่งมีชีวิตพบว่า ในไซโทพลาซึมมีโครงสร้างขนาดเล็กที่ทำหน้าที่เฉพาะเรียกว่า ออร์แกเนลล์ (organelle) มีหลายขนาด รูปร่าง จำนวน และหน้าที่ต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของเซลล์ซึ่งจะประกอบด้วยโครงสร้างพื้นฐานที่คล้าย คลึงกัน ดังนี้
โครงสร้างของเซลล์เมื่อศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ อิเล็กตรอน


1. นิวเคลียส (nucleus)
เป็นโครงสร้างที่มักพบอยู่กลางเซลล์เมื่อย้อมสีจะติดสีเข้มทึบ มีลักษณะเป็นก้อนทึบแสงเด่นชัดอยู่บริเวณกลางๆ เซลล์โดยทั่วๆ ไปจะมี 1 นิวเคลียส เซลล์พารามีเซียม มี 2 นิวเคลียส นิวเคลียสมีความสำคัญเนื่องจากเป็นที่อยู่ของสารพันธุกรรม จึงมีหน้าที่ควบคุมการทำงานของเซลล์ โดยทำงานร่วมกับไซโทพลาซึม
โครง สร้างของนิวเคลียสและเยื่อหุ้มนิวเคลียส


สารประกอบทางเคมีของนิวเคลียส ประกอบด้วย
1. ดีออกซีไรโบนิวคลีอิก (deoxyribonucleic acid) หรือ DNA เป็นส่วนประกอบของโครโมโซมนิวเคลียส
2. ไรโบนิวคลีอิก แอซิด (ribonucleic acid) หรือ RNA เป็นส่วนที่พบในนิวเคลียสโดยเป็นส่วนประกอบของนิวคลีโอลัส
3. โปรตีน ที่สำคัญคือโปรตีนฮีสโตน (histone) โปรตีนโพรตามีน (protamine) ทำหน้าที่เชื่อมเกาะอยู่กับ DNA ส่วนโปรตีนเอนไซม์ส่วนใหญ่จะเป็นเอนไซม์ในกระบวนการสังเคราะห์กรดนิวคลีอิก และเมแทบอลิซึมของกรดนิวคลีอิก
โครงสร้างของนิวเคลียส ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ
1. เยื่อหุ้มนิวเคลียส (nuclear membrane) เป็นเยื่อบางๆ 2 ชั้น เรียงซ้อนกัน ที่เยื่อนี้จะมีรู เรียกว่านิวเคลียร์ พอร์ (nuclear pore) หรือ แอนนูลัส (annulus) มากมาย ทำหน้าที่เป็นทางผ่านของสารต่างๆ ระหว่างไซโทพลาซึมและนิวเคลียส นอกจากนี้เยื่อหุ้มนิวเคลียสยังมีลักษณะเป็นเยื่อเลือกผ่านเช่นเดียวกับ เยื่อหุ้มเซลล์
2. โครมาทิน (chromatin) เป็นส่วนของนิวเคลียสที่ย้อมติดสี เป็นเส้นใยเล็กๆ พันกันเป็นร่างแห ประกอบด้วย โปรตีนหลายชนิด และ DNA มีหน้าที่ควบคุมกิจกรรมต่างๆ ของเซลล์และควบคุมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตทั่วไป
3. นิวคลีโอลัส (nucleolus) เป็นส่วนของนิวเคลียสที่มีลักษณะเป็นก้อนอนุภาคหนาทึบ ประกอบด้วย โปรตีน และ RNA โดยโปรตีนเป็นชนิดฟอสโฟโปรตีน (phosphoprotein) และไม่พบโปรตีนฮีสโตนเลย นิวคลีโอลัสมีหน้าที่ในการสังเคราะห์ RNA ชนิดต่างๆ ดังนั้นนิวคลีโอลัสจึงมีความสำคัญต่อการสร้างโปรตีนเป็นอย่างมาก เนื่องจากไรโบโซมทำหน้าที่สร้างโปรตีน

2. ไซโทพลาซึม (cytoplasm)
เป็นส่วนที่ล้อมรอบนิวเคลียสอยู่ภายในเยื่อหุ้มเซลล์ โดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็น 2 ชั้น คือ
1. เอกโทพลาซึม (ectoplasm) เป็นส่วนของไซโทพลาซึมที่อยู่ด้านนอกติดกับเยื่อหุ้มเซลล์ มีลักษณะบางใส เพราะมีส่วนประกอบต่างๆ ของเซลล์อยู่น้อย
2. เอนโดพลาซึม (endoplasm) เป็นชั้นของไซโทพลาซึมที่อยู่ด้านในใกล้นิวเคลียส ชั้นนี้จะมีลักษณะที่เข้มข้นกว่าเนื่องจากมี ออร์แกเนลล์ (organelle) และอนุภาคต่างๆ ของสารอยู่มาก จึงเป็นบริเวณที่เกิดปฏิกิริยาเคมีต่างๆ ของเซลล์มากด้วย
ไซโทพลาซึม นอกจากแบ่งออกเป็น 2 ชั้น แล้วยังมีส่วนประกอบที่สำคัญ 2 ส่วนคือ
ก. ออร์แกเนลล์ (organelle) เป็นส่วนที่มีชีวิต ทำหน้าที่คล้ายๆ กับเป็นอวัยวะของเซลล์
ออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม (membrane bounded organelle)
1. ไมโทคอนเดรีย (mitochondria) ส่วนใหญ่จะมีรูปร่างกลม ท่อนสั้น ท่อนยาว หรือกลมรีคล้ายรูปไข่ ประกอบด้วยสารโปรตีน ประมาณร้อยละ 60-65 และลิพิดประมาณร้อยละ 35-40 ภายในไมโทคอนเดรียมีของเหลวซึ่งประกอบด้วยสารหลายชนิดเรียกว่า มาทริกซ์ (matrix) มีเอนไซม์ที่สำคัญในการสร้างพลังงานจากการหายใจ นอกจากนี้ยังพบเอนไซม์ในการสังเคราะห์ DNA สังเคราะห์ RNA และโปรตีนด้วย หน้าที่ของไมโทคอนเดรียคือ เป็นแหล่งสร้างพลังงานของเซลล์โดยการหายใจ
2. เอนโดพลาสมิก เรติคูลัม (endoplasmic reticulum:ER) เอนโดพลาสมิก เรติคูลัมเป็นออร์แกเนลล์ที่มีเมมเบรนห่อหุ้ม
เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม


ประกอบ ด้วยโครงสร้างระบบท่อที่มีการเชื่อมประสานกันทั้งเซลล์ แบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ
2.1 เอนโดพลาสมิก เรติคูลัมชนิดขรุขระ (rough endoplasmic reticulum:RER) เป็นชนิดที่มีไรโบโซม มีหน้าที่สำคัญคือ การสังเคราะห์โปรตีนของไรโบโซมที่เกาะอยู่ และลำเลียงสารซึ่งได้แก่โปรตีนที่สร้างได้ และสารอื่นๆ
2.2 เอนโดพลาสมิก เรติคูลัมชนิดเรียบ (smooth endoplasmic reticulum:SER) เป็นชนิดที่ไม่มีไรโบโซม มีหน้าที่สำคัญคือ ลำเลียงสารต่างๆ เช่น RNA ลิพิดโปรตีนสังเคราะห์สารพวกไขมันและสเตอรอยด์ฮอร์โมน
3. กอลจิ บอดี (Golgi body) มีรูปร่างลักษณะเป็นถุงแบนๆ หรือเป็นท่อเรียงซ้อนกันเป็นชั้นๆ มีหน้าที่สำคัญคือ เก็บสะสมสารที่เซลล์สร้างขึ้นก่อนที่จะปล่อยออกนอกเซลล์ ซึ่งสารส่วนใหญ่เป็นสารโปรตีน นอกจากนี้ยังเกี่ยวข้องกับการสร้างนีมาโทซีส (nematocyst) ของไฮดราอีกด้วย
กอลจิบอดี


4. ไลโซโซม (lysosome) เป็นออร์แกเนลล์ที่มีเมมเบรนห่อหุ้มเพียงชั้นเดียว รูปร่างกลมรี พบเฉพาะในเซลล์สัตว์เท่านั้น มีหน้าที่ที่สำคัญคือ
4.1 ย่อยสลายอนุภาคและโมเลกุลของสารอาหารภายในเซลล์
4.2 ย่อยหรือทำลายเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่างๆ ที่เข้าสู่ร่างกายหรือเซลล์
4.3 ทำลายเซลล์ที่ตายแล้ว
4.4 ย่อยสลายโครงสร้างต่างๆ ของเซลล์ในระยะที่เซลล์มีการเปลี่ยนแปลง
5. แวคิวโอล (vacuole) แวคิวโอลเป็นออร์แกเนลล์ที่มีลักษณะเป็นถุง โดยทั่วไปจะพบในเซลล์พืชและสัตว์ชั้นต่ำ แบ่งเป็น 3 ชนิดคือ
5.1 ลิวโคพลาสต์ (leucoplast) เป็นพลาสติดที่ไม่มีสี
5.2 โครโมพลาสต์ (chromoplast) เป็นพลาสติดที่มีรงควัตถุสีอื่นๆ นอกจากสีเขียว
5.4 คลอโรพลาสต์ (chloroplast) เป็นพลาสติดที่มีสีเขียว ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสารคลอโรฟีลล์ ภายในคลอโรพลาสต์ประกอบด้วยส่วนที่เป็นของเหลวเรียกว่า สโตรมา (stroma) มีเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง มี DNA,RNA และไรโบโซม และเอนไซม์อีกหลายชนิดปะปนกันอยู่
ออร์แกเนลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้ม (nonmembrane bounded organelle)
1. ไรโบโซม (ribosome) เป็นออร์แกเนลล์ขนาดเล็ก พบได้ในสิ่งมีชีวิตทั่วไป ประกอบด้วยสารเคมี 2 ชนิด คือ กรดไรโบนิวคลีอิก (ribonucleic acid:RNA) กับโปรตีน มีทั้งที่อยู่เป็นอิสระในไซโทพลาซึม และเกาะอยู่บนเอนโดพลาสมิกเรติคูลัม พวกที่เกาะอยู่ที่เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมจะบฃพบมากในเซลล์ต่อมที่สร้าง เอนไซม์ต่างๆ พลาสมาเซลล์เหล่านี้จะสร้างโปรตีนที่นำไปใช้นอกเซลล์เป็นสำคัญ
2. เซนทริโอล (centriole) มีลักษณะคล้ายท่อทรงกระบอก 2 อันตั้งฉากกัน พบเฉพาะในสัตว์และโพรทิสต์บางชนิด มีหน้าที่เกี่ยวกับการแบ่งเซลล์ เซนทริโอลแต่ละอันจะประกอบด้วยชุดของไมโครทูบูล (microtubule) ซึ่งเป็นหลอดเล็กๆ มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการลำเลียงสารในเซลล์ ให้ความแข็งแรงแก่เซลล์และโครงสร้างอื่นๆ เกี่ยวข้องกับการแบ่งเซลล์ การเคลื่อนที่ของเซลล์
ข. ไซโทพลาสมิก อินคลูชัน (cytoplasmic inclusion) หมายถึง สารที่ไม่มีชีวิตที่อยู่ในไซโทพลาสมิก เช่น เม็ดแป้ง (starch grain) เม็ดโปรตีน หรือพวกของเสียที่เกิดจากกระบวนการแมแทบอลิซึม


3. ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์
หมายถึง โครงสร้างที่ห่อหุ้มไซโทพลาซึมของเซลล์ให้คงรูปร่างและแสดงขอบเขตของเซลล์ ได้แก่
1. เยื่อหุ้มเซลล์ (cell membrane)
เยื่อหุ้มเซลล์มีชื่อเรียกได้หลายอย่าง เช่น พลาสมา เมมเบรน (plasma membrane) ไซโทพลาสมิก เมมเบรน (cytoplasmic membrane) เยื่อหุ้มเซลล์มีความหนาประมาณ 75 อังสตรอม ประกอบด้วยโปรตีนประมาณร้อยละ 60 ลิพิดประมาณร้อยละ 40 การเรียงตัวของโปรตีนและลิพิดจัดเรียงตัวเป็นสารประกอบเชิงซ้อน การเรียงตัวในลักษณะเช่นนี้เรียกว่า ยูนิต เมมเบรน (unit membrane)
โครง สร้างเยื่อหุ้มเซลล์


เยื่อหุ้มเซลล์มีหน้าที่หลายประการคือ
1. ห่อหุ้มส่วนของโพรโทพลาซึมที่อยู่ข้างในทำให้เซลล์แต่ละเซลล์แยกออกจากัน
2. ช่วยควบคุมการเข้าออกของสารต่างๆ ระหว่างภายในเซลล์และสิ่งแวดล้อม มีคุณสมบัติเป็นเซมิเพอร์มีเอเบิล เมมเบรน (semipermeable membrane) ซึ่งจะยินยอมให้สารบางชนิดเท่านั้นที่ผ่านเข้าออกได้ ซึ่งการผ่านเข้าออกจะมีอัตราเร็วที่แตกต่างกัน
3. ความต่างศักย์ทางไฟฟ้า (electrical potential) ของภายในและภายนอกเซลล์เนื่องมาจากการกระจายของไอออนและโปรตีนไม่เท่ากัน ซึ่งมีความสำคัญในการนำสารพวกไอออนเข้าหรือออกจากเซลล์ ซึ่งมีความจำเป็นต่อการทำงานของเซลล์ประสาทและเซลล์กล้ามเนื้อมาก
4. เยื่อหุ้มเซลล์ทำหน้าที่รับสัมผัสสาร ทำให้เกิดการเร่งหรือลดการเกิดปฏิกิริยาเคมีภายในเซลล์นั้นๆ
2. ผนังเซลล์ (cell wall)
ผนังเซลล์ พบได้ในสิ่งมีชีวิตหลากชนิด เช่น เซลล์พืช สาหร่าย แบคทีเรีย และรา ผนังเซลล์ทำหน้าที่ป้องกันและให้ความแข็งแรงแก่เซลล์ โดยที่ผนังเซลล์เป็นส่วนที่ไม่มีชีวิตของเซลล์
ผนังเซลล์พืช


ผนังเซลล์พืช ประกอบด้วยชั้นต่างๆ 3 ชั้น คือ
1. ผนังเชื่อมยึดระหว่างเซลล์ (middle lamella) เป็นชั้นที่เกิดขึ้นเมื่อเซลล์พืชแบ่งตัวและเป็นชั้นที่เชื่อมระหว่างเซลล์ ให้อยู่ติดกัน
2. ผนังเซลล์ปฐมภูมิ (primary wall) เป็นชั้นที่เกิดขึ้นเมื่อเซลล์เริ่มเจริญเติบโต ประกอบด้วยสารพวก เซลลูโลส เป็นส่วนใหญ่
3. ผนังเซลล์ทุติยภูมิ (secondary wall) เป็นชั้นที่เกิดขึ้นเมื่อเซลล์หยุดขยายขนาดแล้ว โดยมีสารพวก เซลลูโลส คิวทิน ซูเบอริน ลิกนิน และเพกทินมาเกาะ
ที่มาhttp://school.obec.go.th/saneh/cell/cell/main1.htm

Theodor_Schwann

Matthias_Schleiden
ประวัติเซลล์

เซลล์และทฤษฎีเซลล์
ร่างกายของคนเราดำรงชีวิตอยู่ได้ด้วยการทำงานของระบบต่าง ๆ และอวัยวะดังกล่าวเกิดจากเนื้อเยื่อ (tissue) ที่ประกอบด้วยหน่วยย่อยเล็ก ๆ ลงไปอีกหน่วยย่อยนี้เรียกว่า เซลล์ จึงกล่าวได้ว่า เซลล์เป็นหน่วยโครงสร้างพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตที่เล็กที่สุด

เซลล์ส่วนใหญ่มีขนาดเล็กมาก ไม่สามารถสังเกตได้ด้วยตาเปล่า การศึกษาเกี่ยวกับเซลล์จึงต้องอาศัยกล้องจุลทรรศน์ ถ้ากล้องจุลทรรศน์นั้นมีกำลังขยายสูงก็จะพบรายละเอียดของสิ่งที่เราต้องการ สังเกตมากขึ้น เซลล์สิ่งมีชีวิตมีรูปร่างและโครงสร้างภายในที่แตกต่างเมื่อประมาณ พ.ศ.2381 มัตทิอัส ชไลเดน (Matthias Schleiden)
นักพฤกษศาสตร์ชาวเยอรมันได้ค้น พบว่า พืชทั้งหลายต่างเป็นสิ่งมีชีวิตทีมี
หลายเซลล์ และในปีถัดมา พ.ศ.2382 เทโอดอร์ ชวันน์ (Theodor Schwann)
นักสัตววิทยาชาวเยอรมัน ได้ประกาศว่าสัตว์ทั้งหลายต่างก็มีเซลล์เป็นองค์ประกอบ นักวิทยาศาสตร์ทั้ง 2 คน จึงได้ร่วมกันตั้ง ทฤษฎีเซลล์ (Cell theory) มีใจความว่าสิ่งมีชีวิตทั้งหลายประกอบด้วยเซลล์ และเซลล์นั้นคือหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
ทุกชนิด
ที่มา http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/25/2/miracle_cell/pictures/sci_Theodor_Schwann.jpg/pictures/sci_Theodor_Schwann.jpg


ที่ มา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
http://www3.ipst.ac.th/secondsci/index.php?option=com_content&view=section&id=9&Itemid=42

ที่ มา http://www3.ipst.ac.th/secondsci/index.php?option=com_content&view=section&id=9&Itemid=42

เซลล์ สัตว์


ที่ มา http://www3.ipst.ac.th/secondsci/index.php?option=com_content&view=section&id=9&Itemid=42
0 ความคิดเห็น

วันจันทร์ที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2553

23ปลูกต้นไม้ 1 ล้านต้นถวายพ่อ

พระครูนิวาสธรรมขันธ์ (พุทฺธสโร) หลวงพ่อเดิม วัดหนองโพ อ.ตาคลี จ.นครสวรรค์

พระครูนิวาสธรรมขันธ์ (พุทฺธสโร) หลวงพ่อเดิม วัดหนองโพ อ.ตาคลี จ.นครสวรรค์

ทรงพระเจริญ

ทรงพระเจริญ

ขอถวายพระพรชัย

ขอพระองค์ทรงพระเจริญ
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ
ข้าพระพุทธเจ้า
เด็กหญิงสาวิตรี กิ่งจำปา
โรงเรียนเมืองเชลียง จ.สุโขทัย
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุโขทัย เขต 2

tvonline

ผู้บริหารโรงเรียน

น.พ.อายุส ภมะราภา พ.บ.โรงพยาบาลอุตรดิตถ์

ครูจำเริญ สุวรรณประสิทธิ์

ดิฉันได้จัดทำเว็บบล็อคแห่งนี้ขึ้นเพื่อเรียนรู้แลกเปลี่ยน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ดูหนังสือเตรียมตัวสอบ การสร้างแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์ การนำข้อมูลจัดทำ Microsoft PowerPoint การจัดทำงานแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รูปแบบ e-book เพื่อให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากการเรียนรู้ในห้องเรียน ขอขอบพระคุณเว็บไซต์BLOGSPOT.COM ที่ให้พื้นที่ในการจัดทำเว็บไซต์ฟรีทุกอย่าง ขอขอบพระคุณแหล่งข้อมูลความรู้จากเว็บไซต์ต่างๆที่นำมาลงเป็นบทความค่ะ ประโยชน์จากการเรียนรู้นี้ขอมอบให้ผู้อ่านทุกคน ขอเชิญติ ชม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ นี้ขอให้ผู้อ่านทุกคนขอเชิญติ ชม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือข้อเสนอแนะได้ที่เว็บบอร์ดค่ะmooann@hotmail.com


อาคารสถานที่โรงเรียนเมืองเชลียง

5





7










เปรียบเทียบหลักสูตรใหม่

การดำเนินงานปรับหลักสูตร.ppt
การพัฒนาหลักสูตร.ppt
การวัดและประเมินผล.ppt
ความเป็นมาของหลักสูตรแกนกลาง.ppt
ชุดฝกอบรมหลักสูตร'doc
ประเด็นการเปลี่ยนแปลงหลักสูตร.pdf
เปรียบเทียบหลักสูตรเดิมกับใหม่.pdf
หลักสูตรแกนกลาง.ppt
ลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
ลักสูตรแกนกลางคณิตฯ
ลักสูตรแกนกลางวิทยาศาตร์
ลักสูตรแกนกลางสังคมศึกษาฯ
ลักสูตรแกนกลางศิลปะฯ
ลักสูตรแกนกลางสุขศึกษาฯ
หลั
กสูตรแกนกลางการงานอาชีพฯ
ลักสูตรแกนกลางภาษาต่างประเทศ


รวมเว็บ




รวม web กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ

รวม web กลุ่มสาระ กอท.

รวม web กลุ่มสาระศิลปะ

รวม web กลุุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา

รวม web กลุ่มสาระสังคมฯ ศาสนารวม

web กลุ่มสาระคณิตศาตร์
รวม

web กลุ่มสาระภาษาไทย
รวม

web กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์

คณิตศาสตร์สาระน่ารู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

วิทยาศาสตร์เนื้อหาสาระทางด้านวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา

ภาษาต่างประเทศสาระน่ารู้ เนื้อหากลุ่มสาระวิชาภาษาต่างประเทศ

ภาษาไทยเนื้อหาสาระเกี่ยวกับกลุ่มสาระวิชาภาษาไทย

สุขศึกษาและพลศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ศิลปศึกษาและดนตรีกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปศึกษาและดนตรี

การงานอาชีพและเทคโนโลยีกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี


ฟิสิกส์

การประเมินสมรรถนะ

9

9

10

11

12

การเตรียมตัวเพื่อทำผลงานทางวิชาการทุกท่านที่จะทำผลงานทางวิชาการต้องมีการเตรียมพร้อมดังนี้ครับ....

คู่มือการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระจะเตรียมตัวทำผลงาน ต้องมีการวิเคราะห์หลักสูตร และจำเป็นต้องใช้ข้อมูลเหล่านี้ครับ....

1. ตัวอย่างการวิเตราะห์หลักสูตรก่อนเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ตัวอย่างงานที่ผ่านการตรวจ

2. ตัวอย่าง แผนการจัดการเรียนรู้3. ตัวอย่าง บันทึกผลหลังสอน

3.1 ตัวอย่างแผน STAD

3.2 ตัวอย่างแผน CIPPA

3.3 ตัวอย่างแผน Backwards

++จะค่อยนำขึ้นเรื่อยๆครับ++

4. วิธีเขียน /ตัวอย่างรายงานบทที 1

5. วิธีเขียน /ตัวอย่างรายงาน บทที่ 2

6. วิธีเขียน /ตัวอย่างรายงาน บทที่ 3

7. วิธีเขียน /ตัวอย่างรายงาน บทที่ 4

8. วิธีเขียน /ตัวอย่างรายงาน บทที่ 5

9. ตัวอย่าง การเขียนบทคัดย่อ

10.ตัวอย่าง การเขียนบรรณานุกรม

10.1 การจัดเรียงภาคผนวก

10.2 แบบประเมินของผู้เชี่ยวฃาญ

11. ตัวอย่าง การเขียน วฐ.2/1

12. ตัวอย่างนวัตกรรม

12.1 ตัวอย่าง บทเรียนสำเร็จรูป

12.2 ตัวอย่าง วีดิทัศน์

12.3 ตัวอย่าง เอกสารประกอบ

13. การหาค่าของคะแนนแบบง่าย

14. ตัวอย่างคู่มือการใช้เแบบฝึกฯ

15. การใช้ Font สำหรับนวัตกรรม.




13

14

15

16






18

19

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ Download

ประกาศให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ Download

สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย Download

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ Download

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ Download

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม Download

กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา Download

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ Download

กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี Download

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ Download



ค้นหา

17

ชมรมผู้บริหารสถานศึกษาชมรมผู้บริหารสถานศึกษาชมรมผู้บริหารสถานศึกษาออนไลน์

22

22
672375@gmail.com tel 055672375

16

นวัตกรรมใหม่

5/2

นาย ธนพัฒน์ คำตา

นาย นัฐพงศ์ จันทรคติ

นาย ภากร บัวทิม

นาย วีรเดช เขี้ยวงา

นาย ศักดา นามกรณ์

นาย อนันต์ โนขัตติมา

นาย จักรกฤษ ระงับใจ

นาย จิรายุ สะพรั่ง

นาย ฐาปนะ เหลือหลาย

นาย สหรัฐ ระวังภัย

นาย จักรพรรณ์ เจือจาน

น.ส. มะลิวัลย์ น้อยกลัด

น.ส. อุมาวรรณ์ ยงยืน

น.ส. กวินทิพย์ นาวา

.ส. นฤมล ฉลองชนม์

น.ส. เปี่ยมสิริ เรืองฤทธิ์


น.ส. วนิดา ดวงจันทร์

น.ส. ศิริเรียม เพิ่มพูน

น.ส. สุรีพร แหลมหลัก

น.ส. อังคนา นรากรณ์

น.ส. อารียา อ่วมภักดี

น.ส. จุฑารัตน์ ดีล้น

น.ส. ธัญญาดา อุปนันท์

น.ส. นัชนิภา นัครา

น.ส. นิตยา จันทร์ศรี

น.ส. บัณฑิตา โพธิ์ประจัก

น.ส. พิจิตรา พลอยสี

น.ส. สุรีย์ฉาย แจ้ยา

น.ส. นภารัตน์ ลือก้อง

น.ส. พัชรินทร์ ห่อทอง

น.ส. ภาวินี ฟักโต

น.ส. รัตนา สีกาวี

น.ส. สุกานดา กาศเกษม

น.ส. สุดารัตน์ สุวรรณกูล

น.ส. มัทนา ยงยุทธ์

น.ส. จริยา เที่ยงตรง

น.ส. นิสารัตน์ จักจั่น

น.ส. ปนัดดา จดฟ้า

น.ส. พรพิมล อ่อนจา

น.ส. อรธีรา ใจคำ

น.ส. วรรณิกา ปาแก้ว

น.ส. กนกพร ปาลวิสุทธิ์

1/9

เด็กชาย กฤษฎา อุดมประสิทธิ์
เด็กชาย กฤษณพงศ์ คงคา
เด็กชาย กิตติธร ภู่ปรางค์
เด็กชาย ไกรสี เชื้อสมุท
เด็กชาย จักรพันธ์ อ่วมบุญมี
เด็กชาย เจษฎา วงศ์โสภา
เด็กชาย ณัฐพงศ์ ทิ้งชั่ว
เด็กชาย ณัฐพงษ์ เข้าเมือง
เด็กชาย ณัฐวุฒิ เชิดโกทา
เด็กชาย ธงชัย มาดหมาย
เด็กชาย ธนากร แพ่งเมือง
เด็กชาย ธัชพงศ์ กุมภา
เด็กชาย นรสิงห์ ทองชัยเดช
เด็กชาย บรรพต ระงับใจ
เด็กชาย ประทีป คุณศิลป
เด็กชาย พิษณุ ก้านเงิน
เด็กชาย พีรภาส อิ่มเอม
เด็กชาย ภักดิ์ภูมิ ปัญญามณี
เด็กชาย ภานุพงศ์ ประดิษฐ์
เด็กชาย มารุต ทิพโชติ
เด็กชาย วัชรพล เรืองฤทธิ์
เด็กชาย ศตคุณ คะแยแก้ว
เด็กชาย สมชาย เขียวสี
เด็กชาย สิทธิศักดิ์ โนนพยอม
เด็กชาย อภิรักษ์ แก่นใจเด็ด
เด็กชาย อมรเทพ เทียนทองเลิศ
เด็กชาย อุดมศักดิ์ สุดสาย
เด็กหญิง กัญญาวีร์ นงลักษณ์
เด็กหญิง จารุวรรณ บัวแผน
เด็กหญิง จิระกานต์ ระบอบ
เด็กหญิง ชนารีย์ ยาหมู
เด็กหญิง นารีรัตน์ จินดาประทุม
เด็กหญิง พสิกา จันทร์พุด
เด็กหญิง พัชรี อินทรกง
เด็กหญิง มัทนา ลีโต
เด็กหญิง วัชราวดี ระวังภัย
เด็กหญิง ศิริรัตน์ ว่านเครือ
เด็กหญิง สุกัลยาณี พ่ายเวหา
เด็กหญิง โสภา สุขศรี
เด็กหญิง อรญา แสงทอง

1/11

เด็กชาย กฤษณะพงศ์ ระวังภัย
เด็กชาย กฤษฎา อนุภาพ
เด็กชาย กษิดิ์เดช บุตรอำคา
เด็กชาย โกมล เข็มทอง
เด็กชาย คมกฤษ บุญกรม
เด็กชาย คีรี เสนีชัย
เด็กชาย จรินศักดิ์ โคเผือก
เด็กชาย เจนณรงค์ จงบริบูรณ์
เด็กชาย เจม สุขศรี
เด็กชาย ชโยดม สุมาพา
เด็กชาย ชาญวิทย์ ปิ่นมณี
เด็กชาย ชำนาญ รักกลิ่น
เด็กชาย ทรงกรต แสงทอง
เด็กชาย ทศพร จันทร์รุ่งเรือง
เด็กชาย ธนวัฒน์ จันทร์สงคราม
เด็กชาย นัฐพงศ์ ยะมาลา
เด็กชาย นามกรณ์ ช่างเจรจา
เด็กชาย พงศกร พรมมี
เด็กชาย พายุ เกิดเกตุ
เด็กชาย พิษณุ รอมทรัพย์
เด็กชาย ภาณุพงศ์ มูลนี
เด็กชาย รณรงค์ รอดจันทร์
เด็กชาย รัฐเขตต์ ช่วยกล่อม
เด็กชาย วรวัฒน์ สืบพันธ์
เด็กชาย วิรัตน์ ทองแห้ว
เด็กชาย สมาน ชมภู
เด็กชาย โสภณัฐ เจือจาน
เด็กชาย อนุรักษ์ เทพวัน
เด็กชาย เอกชัย ฉันทมิตร
เด็กชาย วีรพล กำพลวิน
เด็กชาย อภิชัย มลมาลา

1/7

ด.ช. ชลการต์ กอผจญ
ด.ช. ชาญวิทย์ หลวงนวน
ด.ช. ฐาปนพงศ์ ลับเนตร
ด.ช. ธนายุทธ ยอดคำ
ด.ช. ธีรภัทร์ ขัดคำ
ด.ช. นพเก้า เคราะห์ดี
ด.ช. นรากร ยาน้อย
ด.ช. นัทธพงศ์ พุฒโต
ด.ช. นิเวศน์ มิ่งด่าง
ด.ช. พิสิฐ ฉัตรทอง
ด.ช. พีรพล อุบล
ด.ช. เพิ่มพูน ชัยโพธิ์
ด.ช. รัชชานนท์ จันทร์หง
ด.ช. เศรษฐรัตน์ บุรี
ด.ช. สมเกียรติ ใจดี
ด.ช. สมรส พูลดี
ด.ช. อภิสิทธิ์ เนาวรัตน์
ด.ช. โอภาส ทองสุข
ด.ญ. กนกวรรณ เที่ยงตรง
ด.ญ. กานติมา ช่วยกล่อม
ด.ญ. ขนิษฐา จงบริบูรณ์
ด.ญ. จารุวรรณ เข็มทิศ
ด.ญ. ชนรรถภรณ์ จุ้ยคลัง
ด.ญ. ชลธิชา บุญมา
ด.ญ. ดารุณี ระวังภัย
ด.ญ. นัทมล ดาราดิลก
ด.ญ. ปภาวรินท์ สิทธิชัย
ด.ญ. พิชญานันท์ เทียมแสน
ด.ญ. รัชฎาพร นภดล
ด.ญ. ฤทัยวรรณ อินทะ
ด.ญ. วัชรียา มิ่งด่าง
ด.ญ. ศิรินภา ทองคำ
ด.ญ. ศิรินุช ลือก้อง
ด.ญ. สัญญกมล พึ่งทรัพย์
ด.ญ. สาวิตรี พละสมบูรณ์
ด.ญ. สุกัญญา วันดี
ด.ญ. สุจรรยา มีท้วม
ด.ญ. สุชาดา จาบกุล
ด.ญ. สุดารัตน์ ผลชื่น
ด.ญ. อรพรรณ ทางประโยชน์

1/9

เด็กชายกฤต ขีดเขียน1

เด็กชายเกรียงไกร เรืองฤทธิ์ 2

เด็กชายเกียรติศักดิ์ ชุ่มชื่น3

เด็กชายจิรายุทธ แก้วเงินทอง4

เด็กชายเฉลิมพล เฟื่องฟู5

เด็กชายชัยโย ทำความชอบ 6

เด็กชายเทวฤทธ์ คุณศิลป์7

เด็กชายธนวัฒน์ หนองกลางน้ำ8

เด็กชายธันนุวัต พันธมิตร9

เด็กชายนพนัย แสนกล้า10

เด็กชายนภนต์ ขันขวา11

เด็กชายบรรณวัตร ช่วยสงค์12

เด็กชายบรรพรต พุ่มเทศ13

เด็กชายบุญชัย ใจกอง14

เด็กชายปกรณ์ พิณนา15

เด็กชายมนัส กล้าหาญ16

เด็กชายรุจิภาส ช่างฟ้อน17

เด็กชายวราวุฒิ พุ่มเทศ18

เด็กชายวสันต์ พวงเล็ก19

เด็กชายวัชรพล ต๊ะแก้ว20

เด็กชายวัชระ ชื่นชอบ21

เด็กชายวัฒนา สุขเขียว22

เด็กชายวุฒิชัย ชัยนุรักษ์23

เด็กชายศราวุธ ประดิษฐ์24

เด็กชายศุภกร คงชะนะ25

เด็กชายศุภกานต์ เป็งดิบ26

เด็กชายศุภณัฐ เขตบรรพต27

เด็กชายสกุลรัตน์ พรมสุวรรณ28

เด็กชายสมรักษ์ จันทร์สัมฤทธิ์29

เด็กชายสิทธิพงษ์ จุติ30

เด็กชายอรรถพล แสงโสด31

เด็กชายเอกรัตน์ แฟงน้อย32

เด็กชายเอนก วันมอย33

เด็กหญิงกมลพรรณ เสมอการ34

เด็กหญิงนันทรัตน์ เขื่อนทอง 35

เด็กหญิงพนิดา เหล้กช้าง36

เด็กหญิงมณีรัตน์ เรือนเพชร 37

เด็กหญิงเมธาวี วงศ์พานิชย์ 38

เด็กหญิงรุ่งวิภา นุมัติ 39

เด็กหญิงสิราวรรณ เงินคำ 40

เด็กหญิงสุปราณี ปราณีต 41

1/7

เด็กชายกระจ่างวงค์ ทิ้งชั่ว 1

เด็กชายกายสิทธิ์ กัลยานรากร2

เด็กชายกิตติพงษ์ แย้วนิ่มนวล3

เด็กชายกิตติภณ วงค์กาปิน 4

เด็กชายจรณินท์ ฉิมพลี5

เด็กชายชนะชัย นัครา6

เด็กชายชุติวัต บุรี7

เด็กชายธนกฤต โชติ8

เด็กชายธีรศักดิ์ อุดมลาภ9

เด็กชายปิยพงศ์ เที่ยงตรง10

เด็กชายพงษ์ชัย ช่วยเพ็ญ11

เด็กชายมงคล กุมภา12

เด็กชายรณพีร์ ดอกจันทร์13

เด็กชายรัฐพล ขัดคำ14

เด็กชายรามิล รอดุท่ง15

เด็กชายวิทิต เขาพึง16

เด็กชายวีรนนท์ คำปา17

เด็กชายวีรศักดิ์ กะบินนา18

เด็กชายศุภวัชร ประดับนาค 19

เด็กชายสุธน เที่ยงตรง20

เด็กชายสุรดิษฐ์ เมฆลอย21

เด็กชายสุริวงศ์ ใจมิภักดิ์22

เด็กชายอภิสิทธิ์ จันทร์มูล 23

เด็กชายอัคศราวุธ จันทะคาม24

เด็กชายเอกชัย ทองสุข25

เด็กหญิงกนกวรรณ ชัยช่างชิด26

เด็กหญิงกฤติกา โยธาดี27

เด็กหญิงจิตรลัดดา ยาน้อย 28

เด็กหญิงณัฐวรรณ ท้าวเทียมวงศ์29

เด็กหญิงธัญสุดา จันทร์ดวง30

เด็กหญิงธิดารัตน์ จันทร์วิลัย31

เด็กหญิงพนิดา คำพา32

เด็กหญิงพรรณิภา ชาดก33

เด็กหญิงวรกานต์ รอดบาง 34

เด็กหญิงวิมลมณี เที่ยงตรง 35

เด็กหญิงสรณ์สิริ ลินสา36

เด็กหญิงสุวนันท์ สุวรรณนาค37

เด็กหญิงอมรพรรณ ราชวงษ์38

เด็กหญิงอรวรรณ ติ๊บปินวงค์39

เด็กหญิงอัสมา ขัดใจ40

เด็กหญิงอินทิรา กองสุข41



1/3

เด็กชาย กิตติพงศ์ แก้วนาค
เด็กชาย จเร เขาวิเศษ
เด็กชาย จิรวัฒน์ บุรี
เด็กชาย ทนงศักดิ์ นิราศ
เด็กชาย ทัศนัย ใยไม้
เด็กชาย นิรุทธ์ แก้วกุลศรี
เด็กชาย ปฏิธาร พิงชัยภูมิ
เด็กชายพงศกร ท้าวนาม
เด็กชาย วราเทพ สุภานุสร
เด็กชาย วัชรพงษ์ ดงดอน
เด็กชาย สิทธิพร ทองธรรม
เด็กชาย สืบวงศ์ รอสูงเนิน
เด็กชาย สุทธิพงษ์ ดีอ่อน
ด็กชาย อภิรมย์ โอ่งอิน
เด็กชาย อิทธิพร มีแก้ว
เด็กหญิง กนกพร คชสิงห์
เด็กหญิง กนกพร ประชัน
เด็กหญิง กนกวรรณ โนนพยอม
เด็กหญิง กมลวรรณ จีทา
เด็กหญิง กัลยาณี แก้วกัญจะ
เด็กหญิง เจนจิรา ทองดี
เด็กหญิง ชไมพร ดงดอน
เด็กหญิง ทัดดาว ช่างเจรจา
เด็กหญิง ธนธรณ์ ยงญาติ
เด็กหญิง ปพิชญา เชาว์ดี
เด็กหญิง ปิ่นอนงค์ เอี่ยมจิตร
เด็กหญิง พรธิภา ยอดแย้ม
เด็กหญิง พัชรินญา นิระโทษะ
เด็กหญิง แพรวพรรณ ชมโฉม
เด็กหญิง มธุรส สุวรรณี
ด็กหญิง มัสลิตตา เคราะห์ดี
เด็กหญิง ลักขณา นิตรา
เด็กหญิง วราภรณ์ ทุนมาก
เด็กหญิง สิรินยา มหาภาส
เด็กหญิง สุดารัตน์ แซ่ลี
เด็กหญิง สุทธิกานต์ รื่นกลิ่น
เด็กหญิง แสงระวี เข็มทิศ
เด็กหญิง หทัยชนก สุขย่น
เด็กหญิง หนึ่งฤทัย มโหธร
เด็กหญิง อภิญญา สีแดง



1/1 ลิงค์เดี๋ยวนี้

เด็กชาย จิรวัฒณ์ กิ่งแก้ว
เด็กชาย จีรศักดิ์ แก้วเทศ
เด็กชาย ธนวินท์ สายสุภา
เด็กชาย นิธินันท์ เรือนมูล
เด็กชาย ประวิทย์ ท้องธาร
เด็กชาย พงศ์สิทธิ์ สืบสวน
เด็กชาย รัชชานนท์ พรมมินทร์
เด็กชาย วิฑูร เกิดผล
เด็กหญิง กมลมาศ ดาวคะนอง
เด็กหญิง กิตติยา บัวกล้า
เด็กหญิง คนิจดา นุมัติ
เด็กหญิง จริยา กำมะหยี่
เด็กหญิง จันทิมา เที่ยงตรง
เด็กหญิง จินดารัตน์ ขันติสิริโชค
เด็กหญิง เจนจิรา ปัญญาเครือ
เด็กหญิง ชิดชนก ญาณปัญญา
เด็กหญิง ณัฐฑริกา เรืองขำ
เด็กหญิง ดาราณี แก้วสอน
เด็กหญิง ธันยพร ดอนแก้ว
เด็กหญิง ธารีณี ชื่นชอบ
เด็กหญิง ธีรนาท ชื่นชอบ
เด็กหญิง นันท์นภัส ธุรี
เด็กหญิง นิทยา จีนสมุทร์
เด็กหญิง นิรมล พ้นพาล
เด็กหญิง บุษราภรณ์ หอยศรีจันทร์
เด็กหญิง ปฏิญญาพร เถื่อนประดิษฐ
เด็กหญิง เพชราภรณ์ สีพุทธา
เด็กหญิง รวิสรา นิตรา
เด็กหญิง รัตนาวดี นิโคล ภู่สิงห์
เด็กหญิง ลลิดา คล้ายสุบรรณ
เด็กหญิง วรรณภา บุกล่า
เด็กหญิง วรัญญา เงาะหวาน
ด็กหญิง ศศิธร อมรมุณีพงศ์
เด็กหญิง ศิรินันท์ เรืองมั่น
เด็กหญิง ศิริรัตน์ สืบบุญ
เด็กหญิง ศุทธินี ช่วยบุญ

เด็กหญิง สมัชญา งอนไปล่
เด็กหญิง สุธินี ชะม้าย
เด็กหญิง สุนันทา กอนวงศ์
เด็กหญิง อรอนงค์ สุขสัจจี

1/5

เด็กชาย กฤษณ์ เกื้อกูล
เด็กชาย ฉัตรชัย ไชยวงศ์
เด็กชาย ชัชนันท์ สายแปลง
นาย ณัฐวุฒิ ดอนไพรเทียน
เด็กชาย ทศพร พุ่มทรัพย์
เด็กชาย ทศพร ทิตย์ออริตา
เด็กชาย แทนกาย เขตบรรพต
เด็กชาย ธนวัฒน์ วุฒิสาร
เด็กชาย นันทวัฒน์ เขตบรรพต
เด็กชาย ปฏิพัทธ์ ปาลวิสุทธิ์
เด็กชาย พิตตินันท์ ลุงคะ
เด็กชาย มนูศักดิ์ ใจอ้าย
เด็กชาย มาโนชญ์ ปูชิน
เด็กชาย อนิรุต บุตรเบ้า
เด็กชาย ศุภชัย ระวังภัย
เด็กชาย สรายุทธ สอนสี
เด็กชาย สุรศักดิ์ มูลเฉลิม
เด็กชาย อณัชชา ปาโม๊ะ
เด็กชาย อำนาจ ทองเชิด
เด็กชาย อิทธิกร ระวังภัย
เด็กหญิง กันยารัตน์ ล้นเหลือ
เด็กหญิง เกศนิกา ศิริจรรยา
เด็กหญิง เกษราภรณ์ เนาวบุตร
เด็กหญิง จันทิมา จันทร
เด็กหญิง จุฑามาศ เอี่ยมคำจันทร์
เด็กหญิง เจนจิรา ยงยุทธ์

เด็กหญิง ญาดารัตน์ ทองก้อน
เด็กหญิง ฐานิดา มะลิตูม
เด็กหญิง ธัญชนก แสนขัน
เด็กหญิง นัณฐิกา แสงทอง
เด็กหญิง นันทิยา ครุฑอ้วน
เด็กหญิง รวิสรา พลฤทธิ์
เด็กหญิง วรชา น้อยยาโน
เด็กหญิง ศิริลักษณ์ ธิตา
เด็กหญิง สิริยา เขียวสี
เด็กหญิง สุกัญญา ทองกก
เด็กหญิง สุนิตา แผ่วงค์
เด็กหญิง สุพัตรา พลฤทธิ์
เด็กหญิง อทิชา ดวงเดือน
เด็กหญิง อำภา เจริญฉิม

1/3

เด็กชายจักรพันธ์ นังเกร็ง 1

เด็กชายชวกร ช่วยศรี 2

เด็กชายธีระศักดิ์ บุญชิด 3

เด็กชายนรา ครุฑน้อย 4

เด็กชายเปรมศักดิ์ ยกชู 5

เด็กชายผดุงเกียรติ อนุสนธิ์ 6

เด็กชายพงศธร เหลือศรีจันทร์7

เด็กชายภัทรภูมิ เพิ่มพูล 8

เด็กชายรณชัย ดวงใจ 9

เด็กชายวงศกร แสงเทียน 10

เด็กชายศิริ ทะวัน 11

เด็กชายสมชาย พิมพ์เหมือน12

เด็กชายสราพล ขอบเหลือง 13

เด็กชายสหรัฐ ญาณปัญญา 14

เด็กชายสุทรนพ เหลือหลาย 15

เด็กชายสุทัศน์ เที่ยงตรง 16

เด็กชายอนุพงษ์ บุญประจวบ17

เด็กชายเอกพันธ์ ทำนาย 18

เด็กหญิงกนกกร น้อมเศียร 19

เด็กหญิงกนกวรรณ ยาหมู 20

เด็กหญิงจิตสุภา ประชากูล 21

เด็กหญิงจุฑามาศ พุ่มเจริญ 22

เด็กหญิงธนโชติ ทูลมาก 23

เด็กหญิงนพมาศ สุพรรณ์ 24

เด็กหญิงเบญจรงค์ รอดกำเนิด25

เด็กหญิงปนัสยา สุริวรรณ 26

เด็กหญิงปิยพร แก้วลำ 27

เด็กหญิงพฤกษา ช่างลวดลาย28

เด็กหญิงเพราพิลาส ช้าอยู่ 29

เด็กหญิงภัคพร หนูพุ่ม 30

เด็กหญิงภัชราภรณ์ มีใหญ่ 31

เด็กหญิงภานุมาศ บำรุง 32

เด็กหญิงมานิภา กองเกิด 33

เด็กหญิงยุพาภรณ์ เวสกุล 34

เด็กหญิงวิมพ์วิภา เขียวสี 35

เด็กหญิงวิลาวัณย์ วงศ์ใหญ่ 36

เด็กหญิงวีนัสญา ช่างเจรจา 37

เด็กหญิงสุดารัตน์ สุขสวัสดิ์ 38

เด็กหญิงสุธิดา ทั่งรอด 39

เด็กหญิงแสงสุรีย์พร แซ่เอี๊ยว40

เด็กหญิงอภิญญา ชัยแสงศรีรุ่งกิจ41

เด็กหญิงอิศราภรณ์ อโนราช 42



1/1

เด็กชายเกียรติพงศ์รุ่งโรจน์1
เด็กชายไกรสรพวงแก้ว2
เด็กชายเชษฐกิติ์ทุนมาก3
เด็กชายฐาปกรณ์เผยพร4
เด็กชายณัฐกิตติ์ญาณปัญญา5
เด็กชายณัฐพรปลื้มใจ6
เด็กชายทศพรอุดมสิทธิพร7
เด็กชายธีรภัทรโชติสิริกานต์8
เด็กชายนัฐวุฒิอ่องอ้น9
เด็กชายภูวดลเทพวรรณ10
เด็กชายวสันต์ยะอูป11
เด็กชายสุรวิทย์แสวงลาภ12
เด็กชายสุรศักดิ์สุวรรณนาค13
เด็กชายอนุสรณ์คนกล้า14
เด็กชายอมรเทพพราหมชม15
เด็กหญิงกุลจิราบุระเนตร16
เด็กหญิงจิรตินันท์ทองก้อน17
เด็กหญิงจุฑามาศกัณยาบุตร18
เด็กหญิงณิชนันท์เผยพร19
เด็กหญิงนวีอยู่นาน20
เด็กหญิงนัจนันท์ไพเชฐศักดิ์21
เด็กหญิงนิศารัตน์จูมอญ22
เด็กหญิงนุจรินทร์ประทาน23
เด็กหญิงพรนภาหมีนิ่ม24
เด็กหญิงพฤกษาเจาะรอด25
เด็กหญิงพัชรารัตน์บัณฑูร26
เด็กหญิงพัชรีนนท์คำวงค์27
เด็กหญิงพิชชารีย์เอบศรี28
เด็กหญิงพิมพลอยสงเคราะห์29
เด็กหญิงเพชรรัตน์นนท์คำวงค์30
เด็กหญิงภิญญดาเวชประสิทธิ์31
เด็กหญิงรัตนาภรณ์รุ่งโรจน์32
เด็กหญิงรุจิลดาแก้วโสภา33
เด็กหญิงวนิสาเจิมกลิ่น34
เด็กหญิงวันดีมณีนุตร์35
เด็กหญิงวารุณีเวสกุล36
เด็กหญิงสาวิตรีกิ่งจำปา37
เด็กหญิงสุนิสาวะจะนะ38
เด็กหญิงสุวนันท์ธัญญา39
เด็กหญิงหทัยทัตบัวกล้า40
เด็กหญิงอฐิติญาวงษ์เรียน41
เด็กหญิงอสมาภรณ์ใบศรี42